http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm#06-6 ได้รวบรวมแล้วกล่าวไว้ว่ารูปแบบการวิจัยที่เหมาะสม จะช่วยป้องกัน หรือลดอคติ หรือความคลาดเคลื่อนอย่างมีระบบ (systematic error) อันอาจจะเกิดขึ้น จากการวิจัยได้ รูปแบบการวิจัย เปรียบเสมือนโครงสร้างของบ้าน จะมีลักษณะอย่างไร ขึ้นกับคำถาม และวัตถุประสงค์ของการวิจัย ส่วนระเบียบวิธีวิจัย (research methodology) เปรียบเสมือนการตกแต่งภายใน ซึ่งจำเป็นต้องสอดคล้องกับโครงสร้างของบ้าน (design) ดังนั้น ในการเขียนโครงร่างการวิจัย จึงจำเป็นต้อง กำหนดรูปแบบการวิจัยที่เหมาะสม
การจำแนกรูปแบบการวิจัย ตามวิธีการดำเนินการวิจัย สามารถแบ่งการวิจัยได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ การวิจัยโดยการสังเกต (observational research) และการวิจัยเชิงทดลอง(experimental research) ขึ้นอยู่กับว่า ตัวแปรอิสระ ซึ่งอาจได้แก่ ปัจจัยเสี่ยง (risk factorหรือ exposure) หรือสิ่งที่เราต้องการประเมิน หรือทดสอบ (เช่น ยา วิธีการรักษา โครงการต่าง ๆ) ซึ่งเรียกว่า "สิ่งแทรกแซง" (intervention) นั้น ผู้วิจัยเป็นผู้กำหนด (assign) ให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา หรือตัวอย่างที่นำมาศึกษานั้น ได้รับปัจจัยเสี่ยงนั้นอยู่แล้ว ในชีวิตประจำวัน หรือได้รับอยู่แล้ว ตามธรรมชาติ (ที่เรียกว่า natural exposure) โดยที่ผู้วิจัย ไม่ได้เข้าไปควบคุม หรือแทรกแซงแต่อย่างใด
การวิจัยใดก็ตาม ที่ผู้วิจัยไม่มีการกำหนดปัจจัยเสี่ยง หรือสิ่งแทรกแซง ให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา แต่ตัวอย่างเหล่านั้น ได้รับ หรือสัมผัส กับปัจจัยเสี่ยงนั้น ๆ อยู่แล้ว ในการดำเนินชีวิตประจำวันของเขา โดยผู้วิจัย เป็นแต่เพียงเฝ้าติดตาม สังเกตดูผลที่จะเกิดขึ้น การวิจัยที่เป็นแต่เพียง การเฝ้าสังเกตนี้ จึงได้ชื่อว่า การวิจัยโดยการสังเกต(observational research)
การวิจัยโดยการสังเกต สามารถจำแนกได้เป็น 2 ชนิด ขึ้นอยู่กับว่า การวิจัยนั้น มีกลุ่มควบคุม (Control group) หรือ กลุ่มเปรียบเทียบ (comparison group) หรือไม่ดังนี้p>
ก. การวิจัยโดยการสังเกตเชิงพรรณนา (Observational Descriptive Studies) เป็นการวิจัยโดยการสังเกต ที่ไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบ อาจจำแนกได้เป็น 2 ชนิด ตามเกณฑ์ลำดับเวลาที่ศึกษา คือ
(1) การวิจัยเชิงพรรณา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (แบบตัดขวาง) (Cross-sectional Descriptive Studies)
(2) การวิจัยเชิงพรรณนาระยะยาว (Longitudinal Descriptive Studies)
(2) การวิจัยเชิงพรรณนาระยะยาว (Longitudinal Descriptive Studies)
ข. การวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์ (Observational Analytic Studies) เป็นการวิจัยโดยการสังเกต ที่มีกลุ่มควบคุม หรือกลุ่มเปรียบเทียบ อาจจำแนกได้เป็น 3 แบบ ตามเกณฑ์ของเวลาที่ีศึกษา (ดูภาพที่ 7)
(1) การวิจัยเชิงวิเคราะห์ชนิดไปข้างหน้า (Prospective Analytic Studies หรือ Cohort Studies) เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ ที่เริ่มศึกษาจากเหตุ ไปหาผล
(2) การวิจัยเชิงวิเคราะห์ชนิด
(2) การวิจัยเชิงวิเคราะห์ชนิด
(3) การวิจัยเชิงวิเคราะห์ ณ จุดเลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional Analytic Studies)เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ ที่ผลและเหตุเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ในจุดที่ทำการศึกษา ไม่ทราบว่าใครเกิดก่อน เกิดหลัง
http://www.thaieditorial.com/tag/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2/
รูปแบบการวิจัยสามารถจำแนกตามวิธีการดำเนินการวิจัยได้ รูปแบบหลักๆ คือ
1. การวิจัยโดยการทดลอง (Experimental research) หมายถึง การวิจัยที่ผู้วิจัยมีการกำหนดปัจจัยเสี่ยงให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา แล้วติดตามดูผลที่เกิดขึ้น
2. การวิจัยโดยการสังเกต (Observational research) หมายถึงการวิจัยที่ผู้วิจัยไม่มีการกำหนดปัจจัยเสี่ยงให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา แต่ในชีวิตประจำวันตัวอย่างที่จะทำการศึกษาได้รับปัจจัยเสี่ยงอยู่แล้ว ดังนั้นผู้วิเคราะห์จึงเป็นแค่เพียงผู้ติดตามและสังเกตดูผลที่เกิดขึ้นเท่านั้น การวิจัยโดยการสังเกตแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดดังนี้
1. การวิจัยเชิงพรรณนา อาจจำแนกตามลำดับเวลาที่ศึกษาได้ 2 ชนิด คือ
- การวิจัยเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งแบบตัดขวาง (Cross-sectional descriptive studies) เป็นการศึกษาระยะสั้นที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง
- การวิจัยเชิงพรรณนาระยะยาว (Longitudinal descriptive studies) เป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่ผู้วิจัยสนใจศึกษาในช่วงระยะเวลาที่กำหนด
2. การวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์ (Observational analytic studies) เป็นการวิจัยโดยการสังเกตที่มีกลุ่มเปรียบเทียบหรือกลุ่มควบคุม การวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์อาจจำแนกตามลำดับเวลาที่ศึกษาได้ 3 ชนิด คือ
- การวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบไปข้างหน้า (Cohort studies or Prospective studies) เป็นการศึกษาเริ่มจากเหตุไปหาผล โดยกลุ่มที่เปรียบเทียบไม่มีปัจจัยเสี่ยง
- การวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบย้อนหลัง (Case-control or Retrospective analytic studies) เป็นการศึกษาเริ่มจากผลไปหาเหตุ โดยกลุ่มที่เปรียบเทียบไม่มีปัญหาที่จะศึกษา
- การวิจัยเชิงวิเคราะห์ ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional analytic studies) เป็นการศึกษาทั้งเหตุและผลพร้อมกัน ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง
http://5kanlayaporn20.multiply.com/journal/item/91?&show_interstitial=1&u=%2Fjournal%2Fitem ได้รวบรวมแล้วกล่าวไว้ว่า รูปแบบการวิจัย การวิจัยทางการศึกษานั้นสามารถจัดได้หลายแบบแล้วแต่ว่าจะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ซึ่งพอสรุป ได้ดังนี้1. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
สรุป
รูปแบบการวิจัยที่เหมาะสม จะช่วยป้องกัน หรือลดอคติ หรือความคลาดเคลื่อนอย่างมีระบบ (systematic error) อันอาจจะเกิดขึ้น จากการวิจัยได้ รูปแบบการวิจัย เปรียบเสมือนโครงสร้างของบ้าน จะมีลักษณะอย่างไร ขึ้นกับคำถาม และวัตถุประสงค์ของการวิจัย ส่วนระเบียบวิธีวิจัย (research methodology) เปรียบเสมือนการตกแต่งภายใน ซึ่งจำเป็นต้องสอดคล้องกับโครงสร้างของบ้าน (design) ดังนั้น ในการเขียนโครงร่างการวิจัย จึงจำเป็นต้อง กำหนดรูปแบบการวิจัยที่เหมาะสม
การจำแนกรูปแบบการวิจัย ตามวิธีการดำเนินการวิจัย สามารถแบ่งการวิจัยได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ การวิจัยโดยการสังเกต (observational research) และการวิจัยเชิงทดลอง(experimental research) ขึ้นอยู่กับว่า ตัวแปรอิสระ ซึ่งอาจได้แก่ ปัจจัยเสี่ยง (risk factorหรือ exposure) หรือสิ่งที่เราต้องการประเมิน หรือทดสอบ (เช่น ยา วิธีการรักษา โครงการต่าง ๆ) ซึ่งเรียกว่า "สิ่งแทรกแซง" (intervention) นั้น ผู้วิจัยเป็นผู้กำหนด (assign) ให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา หรือตัวอย่างที่นำมาศึกษานั้น ได้รับปัจจัยเสี่ยงนั้นอยู่แล้ว ในชีวิตประจำวัน หรือได้รับอยู่แล้ว ตามธรรมชาติ (ที่เรียกว่า natural exposure) โดยที่ผู้วิจัย ไม่ได้เข้าไปควบคุม หรือแทรกแซงแต่อย่างใด
การวิจัยใดก็ตาม ที่ผู้วิจัยไม่มีการกำหนดปัจจัยเสี่ยง หรือสิ่งแทรกแซง ให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา แต่ตัวอย่างเหล่านั้น ได้รับ หรือสัมผัส กับปัจจัยเสี่ยงนั้น ๆ อยู่แล้ว ในการดำเนินชีวิตประจำวันของเขา โดยผู้วิจัย เป็นแต่เพียงเฝ้าติดตาม สังเกตดูผลที่จะเกิดขึ้น การวิจัยที่เป็นแต่เพียง การเฝ้าสังเกตนี้ จึงได้ชื่อว่า การวิจัยโดยการสังเกต(observational research)
การวิจัยทางการศึกษานั้นสามารถจัดได้หลายแบบแล้วแต่ว่าจะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ซึ่งพอสรุป ได้ดังนี้
1. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
1. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
อ้างอิง
http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm#06-6 เข้าถึงเมื่อ 25 พฤศจิกายน2555
http://www.thaieditorial.com/tag/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2/
เข้าถึงเมื่อ 25 พฤศจิกายน2555
เข้าถึงเมื่อ 25 พฤศจิกายน2555
http://5kanlayaporn20.multiply.com/journal/item/91?&show_interstitial=1&u=%2Fjournal%2Fitem เข้าถึงเมื่อ 25 พฤศจิกายน2555
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น